24/04/2024
น้องคำพู เชียงตุง > ความรู้ > เรียนภาษาพม่า

เรียนภาษาพม่า

เรียนรู้พื้นฐานภาษาพม่าด้วยตัวเอง รู้จักกับภาษาพม่า จะเริ่มภาษาพม่าต้องเริ่มจากตรงไหน การใช้งานภาษาพม่าที่ถูกต้อง องค์ประกอบภาษาพม่า เนื้อหาเริ่มต้น หรือเริ่มบทเรียนภาษาพม่าจะอยู่ในหน้าท้ายๆ เลื่อนลงไปด้านล่างเพื่อเปลี่ยนไปหน้าที่ต้องการ

.

เรียนภาษาพม่าแบบเป็นไว ด้วย 10 บทความนี้

.

วลี คือ กลุ่มคำที่เรียงต่อกัน ได้ใจความแต่ยังไม่เป็นประโยคสมบูรณ์ เช่น เย็นย่ำค่ำมืด รถยนต์คันนั้น กริยาวลีและส่วนขยายในกริยาวลี กริยาวลื คือ กลุ่มของคำในภาคกริยา กริยาวลีในภาษาพม่าจะประกอบด้วยกริยาหลักและกริยาวิภัตติเป็นหลัก นอกจากนี้ยังอาจมีกริยานำ หรือ กริยาช่วย มาประกอบได้ด้วย ดังเช่น...
ปัจจัย หรือ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Suffix คือส่วนที่เติมท้ายคำเพื่อเปลี่ยนความหมายหรือหน้าที่ของคำนั้นๆ ซึ่งในภาษาพม่า จะมีด้วยกัน 2 ประเภทคือ นามปัจจัย และ กริยาปัจจัย ซึ่งก็คือ คำปัจจัยที่ผูกกับคำนาม และคำปัจจัยที่ผูกกับคำกริยาตามลำดับอุปสรรค หรือ ภาษาอังกฤษเรียกวา...
คำสันธาน โดยความหมายในทางไวยากรณ์ คือ ชนิดของคำที่เชื่อมคำ ประโยค วลีหรือประโยคย่อยเข้าด้วยกัน ทั้งนี้ก็เพื่อแสดงความคล้อยตาม ความขัดแย้งเหตุผลหรือเชื่อมความให้สละสลวยในภาษาพม่า ประโยคที่มีความซับซ้อนจะประกอบด้วยประโยคหลักและประโยครองโดยจะวางประโยคหลักไว้หลังประโยครอง และมี คำสันธาน ทำหน้าที่เช
คำวิเศษณ์ คำวิเศษณ์ในภาษาพม่าสามารถทำหน้าที่เป็นกริยาหลักในประโยค คำวิเศษณ์อาจถือเป็น กริยาสวภาวะ เพื่อจำแนกให้ต่างจากกริยาอาการ นอกจากนี้คำวิเศษณ์ในภาษาพม่าอาจทำหน้าที่เป็นส่วนขยายในนามวลีหรือกริยาวลีได้อีกด้วย หากเป็นส่วนขยายในนามวลี จะเรียกว่านามวิเศษณ์ หรือ คุณศัพท์ แต่ถ้าเป็นส่วนขยายในกริย
ประโยคขอร้อง ในภาษาพม่ายังสามารถแยกออกได้เป็น การเชื้อเชิญ การชักชวน การขอให้ช่วย การขออนุญาต และการอวรพร เนื้อหาในตอนต่อไปนี้ เราจะมาดูเกี่ยวกับรูปแบบการใช้งาน ประโยคขอร้อง และเพิ่มเติมในส่วนของ เนื้อหา ประโยคอื่นๆ และ คำลงท้ายประโยคในภาษาพม่าเพิ่มเติม ประโยคขอร้อง อาจจะเป็นประโยคที่ใช้ใน
ในเนื้อหาเกี่ยวกับประโยคคำถามตอนที่ 1 เราได้พูดถึง ประโยคคำถามปฏิเสธ ในลักษณะ เช่น ไม่เล่นหรอ ไม่ช่วยหรอ ไม่อยู่หรอ ไม่ร้อนหรอ เหล่านี้เป็นต้น ซึ่งรูปแบบของประโยคดังกล่าว ก็เป็นการ นำประโยคปฏิเสธ มาต่อท้ายด้วย လား ลา...
ในตอนที่ผ่านมาเราได้รู้จักกับรูปประโยคคำถามในลักษณะคำถามแบบตอบรับ-ปฏิเสธ หรือคำถามที่ลงท้ายด้วยคำว่า လား ลา แล้ว ในเนื้อหานี้ เรามาดูเกี่ยวกับรูปแบบประโยคคำถามที่ลงท้ายด้วย လဲ แล เราเรียกประโยคคำถามลักษณะนี้ว่า ประโยคคำถามเนื้อความ หรือคำถามที่ต้องการคำตอบในลักษณะรายละเอียด ลักษณะคำถามประเภทนี้
เนื้อหาตอนนี้มาดูเกี่ยวกับรูปประโยคคำถามในภาษาพม่า โดยประโยคคำถามในภาษาพม่า จะมีด้วยกันหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะใช้สำหรับ ถามเกี่ยวกับ สถานที่ เหตุผล เวลา จำนวน ถามยืนยัน ถามทางเลือก ล้วนอยู่ในรูปแบบประโยคคำถาม ที่เราจะทำความรู้จักในบทความตอนนี้ ประโยคคำถาม လား ลา แปลว่า...
ในภาษาพม่า อาจจะจำแนกรูปประโยคคร่าวๆ ออกมาได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ - ประโยคบอกเล่า - ประโยคคำถาม - ประโยคปฏิเสธ - ประโยคขอร้อง ถ้าเป็นประโยคบอกเล่า ก็จะสามารถแยกย่อยออกมาตามกาล โดยใช้กริยาวิภัตติที่เราได้ศึกษาไปก่อนหน้านี้แล้ว...
ก่อนหน้านี้เราได้รู้จักกริยาวิภัตติสำหรับบ่งชี้กาลอของกริยาว่าเป็นปัจจุบันกาลหรือปกติวิสัย อนาคตกาล และอดีตกาลไปแล้ว เราได้รู้จักกริยาช่วย ที่ใช้สำหรับขยายความให้กับกริยาหลัก ซึ่ง กริยานำ ก็เหมือนกริยาช่วย เพียงแต่ว่า เราวางไว้ด้านหน้าของคำกริยาหลัก เป็นการนำมาใช้กรณีว่าเกิดการกระทำหรืออาการ 2