29/05/2023

ความรู้

รวมทักษะ ความรู้ต่างๆ ที่น่าสนใจ ไม่วาจะเป็นภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษา ที่เกี่ยวกับคนเชียงตุง คนไทใหญ่ ไทขืน รัฐฉาน ประเทศพม่า

เนื้อหาในบทนี้จะรวบรวมเกี่ยวกับคำศัพท์ควรรู้ในภาษาขืน ถึงแม้ว่าคำ หรือข้อความโดยส่วนใหญ่ในภาษาขืน จะเป็นลักษณะคล้ายการถอดรูปแบบข้อความภาษาไทย แล้วแทนด้วยตัวอักขระหรือตัวอักษรขืน แต่ก็ยังมีบางคำที่มีการใช้คำที่แตกต่างออกไป เพื่อเป็นแนวทางในการฝึกอ่านออกเสียงหรือฝึกการสะกดคำภาษาขืน จึงนำคำมารวบรว
ใกล้ถึงวันสงกรานต์เข้ามาทุกที ขอนำเนื้อหาเกี่ยวกับคำศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวกับวันสงกรานต์ในภาษาไทใหญ่มารวบรวมไว้เป็นแนวทาง สำหรับศึกษาและนำไปใช้ สำหรับประเพณีสงกรานต์ถ้ายืดตามปีปฎิทินของไทขืน จะหมายถึงเดือน 6 ในแบบปฏิทินจันทรคติ เปรียบเหมือนเป็นวันขึ้นปีใหม่ของชาวไทขืน ซึ่งตรงกับช่วงกลาง เดือนเมษา
เนื้อหาตอนต่อไปนี้มาดูเกี่ยวกับคำศัพท์ การทำบุญในภาษาไทใหญ่ เพื่อที่ว่าเมื่อเราได้ร่วมงานบุญกับชาวไทใหญ่จะได้ทำความเข้าใจอย่างถูกต้อง ในหลายคำก็อาจจะคล้ายภาษาไทย และก็มีบางคำที่เราอาจจะไม่คุ้น ก็จะนำมาไว้เป็นแนวทางให้จดจำ หากมีรายละเอียดความรู้ใหม่ๆ ก็จะอัพเดทเนื้อหาข้อมูลเพิ่มเติมไว้ มีการใช้เ
บทความนี้จะขอเสนอเครื่องมืออย่างง่ายเบื้องต้นสำหรับแยกคำหรือข้อความภาษาไทใหญ่แล้วแปลงเป็นรูปแบบการออกเสียงเป็นภาษาไทย จะตัดในเรื่องวรรณยุกต์ไป การทำงานอาจจะไม่ถูกต้องเสียทีเดียวแต่เป็นแนวทางทำความเข้าใจกับภาษาไทใหญ่เบื้องต้นได้ วิธีการใช้งานก็คือนำคำหรือประโยคข้อความภาษาไทใหญ่มาวางในช่องด้านล่า
วลี คือ กลุ่มคำที่เรียงต่อกัน ได้ใจความแต่ยังไม่เป็นประโยคสมบูรณ์ เช่น เย็นย่ำค่ำมืด รถยนต์คันนั้น กริยาวลีและส่วนขยายในกริยาวลี กริยาวลื คือ กลุ่มของคำในภาคกริยา กริยาวลีในภาษาพม่าจะประกอบด้วยกริยาหลักและกริยาวิภัตติเป็นหลัก นอกจากนี้ยังอาจมีกริยานำ หรือ กริยาช่วย มาประกอบได้ด้วย ดังเช่น...
ปัจจัย หรือ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Suffix คือส่วนที่เติมท้ายคำเพื่อเปลี่ยนความหมายหรือหน้าที่ของคำนั้นๆ ซึ่งในภาษาพม่า จะมีด้วยกัน 2 ประเภทคือ นามปัจจัย และ กริยาปัจจัย ซึ่งก็คือ คำปัจจัยที่ผูกกับคำนาม และคำปัจจัยที่ผูกกับคำกริยาตามลำดับอุปสรรค หรือ ภาษาอังกฤษเรียกวา...
คำสันธาน โดยความหมายในทางไวยากรณ์ คือ ชนิดของคำที่เชื่อมคำ ประโยค วลีหรือประโยคย่อยเข้าด้วยกัน ทั้งนี้ก็เพื่อแสดงความคล้อยตาม ความขัดแย้งเหตุผลหรือเชื่อมความให้สละสลวยในภาษาพม่า ประโยคที่มีความซับซ้อนจะประกอบด้วยประโยคหลักและประโยครองโดยจะวางประโยคหลักไว้หลังประโยครอง และมี คำสันธาน ทำหน้าที่เช
คำวิเศษณ์ คำวิเศษณ์ในภาษาพม่าสามารถทำหน้าที่เป็นกริยาหลักในประโยค คำวิเศษณ์อาจถือเป็น กริยาสวภาวะ เพื่อจำแนกให้ต่างจากกริยาอาการ นอกจากนี้คำวิเศษณ์ในภาษาพม่าอาจทำหน้าที่เป็นส่วนขยายในนามวลีหรือกริยาวลีได้อีกด้วย หากเป็นส่วนขยายในนามวลี จะเรียกว่านามวิเศษณ์ หรือ คุณศัพท์ แต่ถ้าเป็นส่วนขยายในกริย
ประโยคขอร้อง ในภาษาพม่ายังสามารถแยกออกได้เป็น การเชื้อเชิญ การชักชวน การขอให้ช่วย การขออนุญาต และการอวรพร เนื้อหาในตอนต่อไปนี้ เราจะมาดูเกี่ยวกับรูปแบบการใช้งาน ประโยคขอร้อง และเพิ่มเติมในส่วนของ เนื้อหา ประโยคอื่นๆ และ คำลงท้ายประโยคในภาษาพม่าเพิ่มเติม ประโยคขอร้อง อาจจะเป็นประโยคที่ใช้ใน
ในเนื้อหาเกี่ยวกับประโยคคำถามตอนที่ 1 เราได้พูดถึง ประโยคคำถามปฏิเสธ ในลักษณะ เช่น ไม่เล่นหรอ ไม่ช่วยหรอ ไม่อยู่หรอ ไม่ร้อนหรอ เหล่านี้เป็นต้น ซึ่งรูปแบบของประโยคดังกล่าว ก็เป็นการ นำประโยคปฏิเสธ มาต่อท้ายด้วย လား ลา...