25/04/2024
น้องคำพู เชียงตุง > ความรู้ > เรียนภาษาพม่า

เรียนภาษาพม่า

เรียนรู้พื้นฐานภาษาพม่าด้วยตัวเอง รู้จักกับภาษาพม่า จะเริ่มภาษาพม่าต้องเริ่มจากตรงไหน การใช้งานภาษาพม่าที่ถูกต้อง องค์ประกอบภาษาพม่า เนื้อหาเริ่มต้น หรือเริ่มบทเรียนภาษาพม่าจะอยู่ในหน้าท้ายๆ เลื่อนลงไปด้านล่างเพื่อเปลี่ยนไปหน้าที่ต้องการ

.

เรียนภาษาพม่าแบบเป็นไว ด้วย 10 บทความนี้

.

ต่อจากตอนที่ 1 เราทราบแล้วว่า กริยาช่วย จะทำหน้าที่แสดงภาวะหรือเวลา เพื่อเสริมความให้กับกริยาหลัก โดยจะวางไว้หลัก กริยาหลัก และจะอยู่ด้านหน้าของ กริยาวิภัตติ การแสดงสภาวะ หรือเวลา เช่น อยาก ต้อง ควร ลอง...
นอกจากกริยาวิภัตติที่กล่าวถึงในตอนที่แล้ว ในภาษาพม่า ยังมีส่วนขยายที่ทำหน้าที่เสริมกริยา เรียกว่า กริยาช่วย โดยกริยาช่วย จะทำหน้าที่แสดงภาวะหรือเวลา เพื่อเสริมความให้กับกริยาหลัก โดยจะวางไว้หลัก กริยาหลัก และจะอยู่ด้านหน้าของ กริยาวิภัตติ การแสดงสภาวะ หรือเวลา เช่น อยาก ต้อง...
ในตอนที่แล้ว เราได้พูดถึงกริยาวิภัตติ หรือตัวบ่งบี้คำกริยาในประโยค รวมทั้งแสดงกาลของประโยคได้ได้ เนื้อหานี้เราจะมาดูอีกส่วนของการใช้วิภัตติ ซึ่งจะเป็นการใช้กับนาม เราจึงเรียก วิภัตตินี้ว่า นามวิภัตติ โดยจะใช้สำหรับบ่งชี้นาม ที่เป็นประธาน หรือ กรรม ของประโยค รูปแบบการใช้งานก็คล้ายกับ กริยาวิภัตต
คำว่าวิภัตติ ในทางไวยากรณ์ก็จะหมายถึงการผันคำ โดยเป็นการแบ่ง จำแนก หรือจัดกลุ่มของคำโดยการเติมคำต่อท้ายลงไป อาจจะเพื่อบ่งบอกถึงกาล เช่น ปกติกาล หรือ ปัจจุบันกาล อนาคตกาล อดีตกาล หรือบ่งบอกถึงเพศ พจน์ อื่นๆ มีใช้ในภาษาบาลี สันสกฤต...
อักษรซ้อน ในภาษาพม่า จะมีลักษณะเป็นการวางอักษรซ้อนกันคล้ายรูปแบบอักษรในภาษาบาลี ซ้อนกันอยู่ในวรรคเดียวกัน โดยตัวอักษรตัวบนจะเป็นตัวสะกดของพยางค์แรก อักษรตัวล่างจะเป็นอักษรต้นของพยางค์ถัดไป บางครั้งเรียกอักษรซ้อนว่า ตัวสะกดตัวตาม ตัวอย่าง เช่น က္က က္ခ ခ္ဆ တ္ထ န္ထ မ္ပ င်္က...
ตอนที่แล้วเราได้รู้จักการนับตัวเลขในหลักต่างๆ ในภาษาพม่ามาแล้ว ในเนื้อหาตอนต่อไปนี้ เราจะมาดูการใช้ตัวเลขกับหน่วยนับ ซึ่งจะหมายถึง หน่วยการวัด การช่าง การตวง เช่น เอเคอร์ กระติก และหน่วยที่แทนลักษณะนามในภาษาพม่า เช่น อัน ผืน คัน ชนิด...
การนับตัวเลข 0 - 9 ตัวเลขในภาษาพม่าประกอบด้วยเลข 0 ถึง 9 มีรูปแบบ และการออกเสียงแต่ละตัวดังนี้ ၀ - သုည - โตงญ้ะ - 0၁...
พยัญชนะควบกล้ำ อักษรควบ อักษรซ้อน หรืออักษรผสม ในภาษาพม่านั้น เป็นการนำพยัญชนะมากกว่าหนึ่งตัว มารวมกันเป็นพยัญชนะใหม่ ในที่นี้จะขอเรียกเป็น พยัญชนะผสม ทั้งนี้ก็เพราะว่า บางตัวเมื่อผสมกันแล้วก็ไม่ออกเสียงเป็น สองพยางค์ แต่มีการเปลี่ยนรูปของเสียงเป็นเสียงใหม่ไปเลย ถ้าจะใช้คำว่าควบกล้ำก็ไม่น่าจะถู
ใน 3-4 ตอนที่ผ่านมา เราได้ฝึกการออกเสียงการผสมพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ในภาษาพม่าเบื้องต้นไป จะเห็นว่าในบทความก่อนหน้าที่เราพูดถึงเกี่ยวกับสระในภาษาพม่า ได้หยิบยกมาแค่ตัวหลักๆ ซึ่งมีทั้งสระจม และ อักษรพิเศษหรือที่เรียกว่า สระลอย บางส่วน จากนั้นเราก็ต่อด้วยบทความ ที่มีการใช้งานวรรณยุก์เข้ามาร่วม ท
ตอนที่ 5 มาดูต่อการฝึกออกเสียงผสมพยัญชนะ กับสระในภาษาพม่า ตอนนี้เป็นตอนสุดท้ายของการผสมพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ โดยประกอบไปด้วยพยัญชนะ ต่างๆ ดังนี้ล้ะ လว้ะ ဝต้ะ သและ ฮ้ะ ဟ แก้ไข* คำออกเสียงที่ลงท้ายด้วย...