25/09/2023

ความรู้

รวมทักษะ ความรู้ต่างๆ ที่น่าสนใจ ไม่วาจะเป็นภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษา ที่เกี่ยวกับคนเชียงตุง คนไทใหญ่ ไทขืน รัฐฉาน ประเทศพม่า

การนับตัวเลข 0 - 9 ตัวเลขในภาษาพม่าประกอบด้วยเลข 0 ถึง 9 มีรูปแบบ และการออกเสียงแต่ละตัวดังนี้ ၀ - သုည - โตงญ้ะ - 0၁...
พยัญชนะควบกล้ำ อักษรควบ อักษรซ้อน หรืออักษรผสม ในภาษาพม่านั้น เป็นการนำพยัญชนะมากกว่าหนึ่งตัว มารวมกันเป็นพยัญชนะใหม่ ในที่นี้จะขอเรียกเป็น พยัญชนะผสม ทั้งนี้ก็เพราะว่า บางตัวเมื่อผสมกันแล้วก็ไม่ออกเสียงเป็น สองพยางค์ แต่มีการเปลี่ยนรูปของเสียงเป็นเสียงใหม่ไปเลย ถ้าจะใช้คำว่าควบกล้ำก็ไม่น่าจะถู
ใน 3-4 ตอนที่ผ่านมา เราได้ฝึกการออกเสียงการผสมพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ในภาษาพม่าเบื้องต้นไป จะเห็นว่าในบทความก่อนหน้าที่เราพูดถึงเกี่ยวกับสระในภาษาพม่า ได้หยิบยกมาแค่ตัวหลักๆ ซึ่งมีทั้งสระจม และ อักษรพิเศษหรือที่เรียกว่า สระลอย บางส่วน จากนั้นเราก็ต่อด้วยบทความ ที่มีการใช้งานวรรณยุก์เข้ามาร่วม ท
เนื้อหาบทความนี้จะมาฝึกอ่านประเพณีของไทขืนทั้ง 12 เดือน โดยจะเริ่มต้นตั้งแต่ปีใหม่ของไทขืนหรือเดือน 6 ตามปฏิทินไทขืน หรือวันสงกรานต์เดือนเมษายน ตามเทศกาลในประเทศไทย การฝึกอ่านและแปลนี้ไม่ได้มีความถูกต้อง 100 เปอร์เซ็นต์ผู้เขียนนำมาเป็นแนวทางสำหรับการฝึกการอ่านเท่านั้น ก่อนลงรายละเอียด มารู้จักเ
ตัวเลขในภาษาขืนเป็นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่ง ที่เราจำเป็นต้องจดจำไว้ถึงแม้เราจะเข้าใจว่า ตัวเลขในภาษาขืน ก็มีแค่ 9 - 10 ตัวเหมือนตัวเลขทั่วไป แต่สิ่งที่ทำให้เราจำเป็นต้องเข้าใจตัวเลขภาษาขืน ก็เพราะว่า รูปแบบตัวเลข มีความคล้ายคลึงกับรูปแบบของพยัญชนะ หากเพิ่งเริ่มศึกษาภาษาขืนก็อาจจะสับสน และทำให้การฝ
มาถึงตอนสุดท้ายของการฝึกอ่านคำภาษาขืน จากบทท่องพยัญชนะ ลำดับที่32 - 42 เป็น 11 ตัวสุดท้าย ถึงแม้ว่า รูปแบบจะคล้ายๆ กับหลายๆ ตัวที่ผ่านมาแต่การทบทวนซ้ำๆ ก็จะทำให้เราคุ้นชินกับการอ่านภาษาขืนได้ง่ายขึ้น ซึ่งก็คือเราได้ฝึกจำตัวพยัญชนะบ่อยๆ เวลาอ่านก็จะอ่านได้ไหลลื่นขึ้น 32. ᩀ...
มาต่อกันอีก 10 พยัญชนะในตอนที่ 3 ตั้งแต่ตัวที่ 22 - 31 เมื่อฝึกอ่านมาถึงตรงนี้หลายๆ คำก็จะซ้ำกัน รูปแบบการอ่านออกเสียง ก็จะเป็นลักษณะเดียวกัน ดังนั้นการอธิบายในรายละเอียดจะน้อยลงไปตาม อย่างไรก็ตาม ยังมีบางตัวที่อาจจะไม่ได้มีรูปแบบตามที่เรารู้หรือจำมา เช่น คำตาย...
มาต่อกันกับการอ่านภาษาขืนจากบทท่องพยัญชนะ จากตอนที่แล้วเราฝึกไป 10พยัญชนะแรก ในเนื้อหาตอนนี้จะเพิ่มมาอีก 11 พยัญชนะ การอธิบายก็อาจจะสั้นลงเพราะบางคำเป็นการพูดถึงคำ หรือรูปแบบเดิมที่อธิบายไปบ้างแล้ว ก็จะไปแบบเร็วๆ 11. ᨫ ᨫᩣ᩠ᨶ ᨻ᩵ᩴᩣᨻᩯ᩠ᨦᨶᩣ᩠ᨶᨧ᩠ᨦᩥ᩵ᨯᩱᩢᨫ – ฌ่ะ – ฌาน...
เนื้อหาตอนต่อไปนี้ เราจะมาฝึกการอ่านคำภาษาขืน โดยใช้บทท่องพยัญชนะภาษาขืนทั้ง 42 ตัว เนื้อหานี้จะอาศัยรายละเอียด จากบทความก่อนๆ หน้ามาประกอบ เพราะในคำภาษาขืน จะมีทั้ง พยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์รวมถึงบางคำก็เป็นคำภาษาบาลี ที่อาจจะไม่ได้กล่าวถึงมาก่อน ก็มาศึกษาในบทความตอนนี้พร้อมๆ กัน...
เราได้รู้จักเสียงควบกล้ำหรือตัวซ้อนในภาษาขืนในรูปแบบอักษรนำ ที่มีตัว ᩉนำหน้า และมีตัว ᩁ พยัญชนะ ร ควบกล้ำไปบ้างแล้ว เนื้อหานี้มาดูต่อเกี่ยวกับการควบกล้ำเพิ่มเติมในภาษาขืน และมาดูเกี่ยวกับ การเปลี่ยนรูปของพยัญชนะเมื่อมีการใช้งานแบบซ้อนกัน การพิมพ์บนแป้นพิมพ์ภาษาขืน กรณี ᩉ หีะ นำ ᩉ᩠ᨦ...