18/04/2024
น้องคำพู เชียงตุง > ความรู้ > เรียนภาษาไทใหญ่

เรียนภาษาไทใหญ่

รวมเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนภาษาไทใหญ่ ภาษาไตย ด้วยตัวเอง องค์ประกอบของภาษาไทใหญ่ รู้จักกับภาษาไทใหญ่ แนวทางการอ่านภาษาไทใหญ่ที่ถูกต้อง พื้นฐานภาษาไทใหญ่ เนื้อหาเริ่มต้น หรือเริ่มบทเรียนภาษาไทใหญ่จะอยู่ในหน้าท้ายๆ เลื่อนลงไปด้านล่างเพื่อเปลี่ยนไปหน้าที่ต้องการ

.

เรียนภาษาไทใหญ่แบบเป็นไว ด้วย 6 บทความนี้

.

เนื้อหาตอนต่อไปนี้ เราจะมาพูดถึงเกี่ยวกับเรื่องของวันที่ เดือน ปี และ เวลา การสอบถามถึงกำหนดเวลาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เวลาที่เกิดขึ้นมาแล้วในอดีต และเวลาในปัจจุบันในภาษาไทใหญ่ เช่น ทำ…กี่โมง วันอะไร กลับมาเมื่อไหร่… ปีนี้ปีอะไร ประโยคสนทนาเกี่ยวกับเวลา คุณมาจากไหนหรอสู-ลุ๊ก-ตี๊-ใหล-ม๊า-ข้าသူလုၵ်
เนื้อหาตอนต่อไปนี้จะมาพูดถึงเรื่องที่เกี่ยวกับสภาพอากาศ การสอบถามพูดคุย และบทสนทนาเกี่ยวสภาพอากาศ ว่าในภาษาไทใหญ่มีรูปแบบการพูด และใช้งานอย่างไร สามารถนำไปเป็นหัวข้อพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนกันได้ บทสนทนาเกี่ยวกับสภาพอากาศ สภาพอากาศฟิ้ง-ฟ้า-ฝนၾိင်ႈၾႃႉၾူၼ် เกี่ยวกับสภาพอากาศเก่ว-กั๊บ-ฟิ้ง-ฟ้า-ฝนၵဵဝ်
ข้อมูลต่อไปนี้เป็นชื่อพืชผัก ผลไม้ต่างๆ ในภาษาไทใหญ่ ที่ได้รวบรวมจากแหล่งต่างๆ มาไว้เป็นข้อมูล อาจจะไม่ถูกต้องครบถ้วน แต่ก็พอเป็นแนวทาง สำหรับนำไปใช้เบื้องต้นได้ ในบางชื่อจะไม่มีคำที่เป็นภาษาไทใหญ่กำกับไว้ แต่ก็มีคำอ่านสำหรับคำเรียกในภาษาไทใหญ่ ชื่อพืชผัก ผลไม้ต่างๆ ในภาษาไทใหญ่ ผลไม้หมาก-ไม่မၢ
เครื่องมือที่จะช่วยให้เราสามารถหาความหมายของคำภาษาไทใหญ่ ดูรูปแบบการออกเสียง และวิธีการเขียนที่ถูกต้อง ในการค้นหาคําศัพท์ เราจะต้องสามารถพิมพ์อักษรไทใหญ่ได้ เพื่อค้นหาคำนั้นๆ สามารถทดสอบโดยใช้ตัวอย่างคำต่อไปนี้ เพื่อหาความหมายได้ ၵျိူၵ်ႈၼႃႇႁၵ်ႉၸွင်ႇႁဵတ်းပဵၼ်တူၺ်း ค้นหา วิธีการใช้แป้นพิมพ์เสมือน
เนื้อหาในหัวข้อนี้จะมาดูเกี่ยวกับการเรียกบุคคลต่างๆ ในครอบครัว หรือเครือญาติพี่น้อง รวมถึงประโยคสนทนาการสอบถามเกี่ยวกับครอบครัว เกี่ยวกับครอบครัว เกี่ยวกับครอบครัวเก้ว-กั๊บ-ใน-เฮินၵဵဝ်ႇၵပ်းၼႂ်းႁိူၼ်း พ่อป้อ / อู้ပေႃႈ / ဢူႈ แม่แม้မႄႈ ผู้ปกครอง(พ่อแม่)ป้อแม้ပေႃႈမႄႈ เด็กทารกลุ้ก-อ่อน-แหลงလုၵ်ႈဢွၼ်
เนื้อหาตอนต่อไปมารู้จักกับสรรพนามที่ใช้เรียกแทนตัวเอง และคนอื่นในภาษาไทใหญ่ที่นิยมใช้กันในประโยคสนทนา ซึ่งมีทั้งแบบที่เป็นทางการ แบบที่ใช้กับผู้อาวุโสกว่าและแบบที่ใช้กันในหมู่เพื่อนหรือคนที่สนิทกัน สรรพนามบุรุษที่ 1 - ฉัน (ผู้พูด) ႁဝ်း - เฮ๊า - (สุภาพ ถ้าหลายคนหมายถึง พวกเรา)ႁဝ်းၶႃႈ -...
ในเนื้อหาผ่านๆ มา เราได้รู้จักองค์ประกอบภาษาไทใหญ่เบื้องต้นไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นพยัญชนะ สระตัวสะกด และวรรณยุกต์ หากทบทวนซ้ำๆ เราก็จะมีพื้นฐานในการอ่านภาษาไทใหญ่ในเบื้องต้น เนื้อหาต่อๆไป รวมถึงเนื้อหานี้ เราจะทำความคุ้นเคย กับรูปแบบคำภาษาไทใหญ่ ที่สอดแทรกไปในบทสนทนา หรือคำ และข้อความที่ควรรู้ อย่า
เนื้อหานี้จะมาพูดถึงวิธีการฝึกจดจำสระต่างๆ ในภาษาไทใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นสระปกติ และสระผสมหรือสระอื่นๆ ที่มีการใช้งานตัวสะกดเพิ่มเติม การที่เราจะมองออกว่าคำนั้น อ่านว่าอะไร เป็นแนวทางที่ผู้เขียนพยายามทำความเข้าใจ และนำมาถ่ายทอดอีกที ไม่ได้เป็นรูปแบบที่เป็นหลักการใดๆ เป็นการนำเสนอในมุมองของผู้เขียนเท
เราจะมาลองจับคู่ พยัญชนะภาษาไทใหญ่ กับ การออกเสียง ทดสอบความจำ ลองแล้ว 0 ครั้ง แสดงทั้งหมด ขอแสดงความยินดี ? × คุณชนะเกมนี้แล้ว ?? คุณลองไป ครั้ง ใช้เวลา...
ในภาษาไทใหญ่จะมีวรรณยุกต์ด้วยกัน 5 รูป 6 เสียง ประกอบด้วย ตัว - ႇ ႈ း ႉ ႊเป่า ยัก ยักจำ จำหน่า จำตื่อ...