29/05/2023

เรียนภาษาขืน

รวมเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนภาษาขืนด้วยตัวเอง รู้จักกับภาษาขืน องค์ประกอบของภาษาขืน ภาษาขืนขั้นพื้นฐาน การใช้งานภาษาขืนที่ถูกต้อง เนื้อหาเริ่มต้น หรือเริ่มบทเรียนภาษาขืนจะอยู่ในหน้าท้ายๆ เลื่อนลงไปด้านล่างเพื่อเปลี่ยนไปหน้าที่ต้องการ

*เนื้อหานี้ใช้ได้กับภาษาไทลื้อที่มีใช้ในสิบสองปันนา ศึกษาเนื้อหานี้ก็สามารถเข้าใจ และอ่านภาษาไทลื้อ หรือเป็นแนวทางเบื้องต้นได้

.

เรียนภาษาขืนแบบเป็นไว ด้วย 9 บทความนี้

.

ในภาษาขืน จะเรียกการควบกล้ำตัวอักษรว่า การซ้อน หรือคำซ้อน เช่นเดียวกับรูปแบบการใช้ อักษรนำ ᩉ ตัว ห๊ะ ที่เป็นการผสมพยัญชนะ 2 ตัวเพื่อให้ได้พยัญชนะเสียงสูง เนื้อหาตอนนี้เราจะมาดูการใช้งานตัว ᩁ ร๊ะ หรือ ร...
เนื้อหาตอนนี้ เราจะมาดูเกี่ยวกับพยัญชนะ ตัวเสียงกลาง ตัว ᨯ ᨷ และ ᩋ โดยปกติแล้วตัวเสียงสูง กับตัวเสียงต่ำ จะมีความเป็นคู่เสียงกันอยู่ ยกตัวอย่างเช่น คู่เสียงสูง เสียงต่ำ ข้างต้น สามารถใช้วรรณยุกต์ ไม้หยัก...
เราได้รู้จักพยัญชนะ สระ และก็วรรณยุกต์ไปแล้ว เนื้อหานี้ จะมาดูเกี่ยวกับ ตัวสะกด ซึ่งในภาษาไทย จะหมายถึง พยัญชนะท้ายคำ หรือท้ายพยางค์ ที่ตามหลังสระ เพื่อทำหน้าที่กำหนดเสียงให้เป็นไปตามมาตราต่างๆ สำหรับในภาษาขืน จะเรียกว่า ตัวพัด ประกอบไปด้วย 6...
วรรณยุกต์ ในความหมายของภาษาไทยก็คือ เครื่องหมายที่แสดงเสียงสูง ต่ำ ของคำ ในภาษาขืน จะเรียกว่าไม้นำเสียง (ᨾᩱᩢᨶᩣᩴᩣᩈ᩠ᨿᨦ) มีด้วยกัน 5 ตัว ดังนี้ และ อีก 3 ตัว ที่ใช้กับพยัญชนะ...
สระในภาษาขืน ไม่ค่อยชัดเจนในจำนวนมากนัก แตกต่างจะสระในภาษาไทย ในภาษาขืนมีการใช้สระที่มีตัวสะกด นับเป็นสระด้วย ทำให้ไม่สามารถบอกหรือแบ่งจำนวนได้ชัดเจน ต่อไปนี้คือสระเบื้องต้นที่มีใช้ในภาษาขืน จะเรียกชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า ไม้ เช่น -ᩡ (เรียกว่า ไม้ก๊ะ) ถ้าเทียบกับภาษาไทย ก็คือสระ อะ ᨠᩡ...
อักษรนำในภาษาไทย คือ คำที่มีพยัญชนะ 2 ตัว ประสมสระเดียวกัน และสามารถอ่านออกเสียงได้ทั้งแบบพยางค์เดียว หรือ สองพยางค์ แต่ในกรณีของอักษรนำที่เป็น ห นำจะอ่านออกเสียงเป็นพยางค์เดียวในภาษาขืน ก็มีการใช้งานในลักษณะเดียวกัน โดยเป็นการใช้ตัว ᩉ (ห้ะ) นำ...
เราจะมาลองจับคู่ พยัญชนะภาษาขืน กับ การออกเสียง ทดสอบความจำ ลองแล้ว 0 ครั้ง แสดงทั้งหมด ขอแสดงความยินดี ? × คุณชนะเกมนี้แล้ว ?? คุณลองไป ครั้ง ใช้เวลา...
ตัวอักษรในภาษขืน มีทั้งหมด 42 ตัว มีรูปแบบการเรียกที่ใกล้เคียงกับภาษาไทย ทำให้เราสามารถจดจำได้ไม่ยากนัก ต่อไปนี้คือตัวพยัญชนะ ในภาษาขืนทั้งหมด พร้อมรูปแบบการออกเสียง ในการออกเสียง อาจจะมีความแตกต่างกันบ้าง แต่ไปในทำนองเดียวกัน พยัญชนะเป็นสิ่งสำคัญ แรกที่เราต้องจำรูปแบบ และการออกเสียงให้ได้ ᨠ -...
ภาษาขืน ภาษาขืน หรือ ภาษาเขิน (บ้างก็เรียกว่า ไทเขิน หรือ ไทขืน) พบใช้ส่วนใหญ่ในเมืองเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพม่า มีความคล้ายคลึงกับภาษาลื้อและภาษายอง ภาษาเขินเป็นภาษาในกลุ่มภาษาย่อยไทพายัพ ในกลุ่มภาษาคำ-ไท ตระกูลภาษาไท-กะได ชาวขืนใช้อักษรชนิดเดียวกันกับชาวไทยวน เรียกว่า...
ก่อนไปสู่รายละเอียดของเนื้อหาทั้งหมด ขอแนะนำก่อนว่า ผู้เขียนบทความนี้กำลังศึกษาภาษาขืน หรือภาษาไทขืน โดยใช้ข้อมูล และศึกษาจากบทเรียน จากท่าน พระมหาแสงแดง ช่องยูทูป Khun language เป็นแนวทางประกอบการทำความเข้าใจ ในแบบของตัวเอง และเขียนถ่ายทอดไว้ เป็นข้อมูลภาษาไทย สำหรับท่านอื่นที่มีความสนใจภาษาไท