24/04/2024

เรียนภาษาขืน

รวมเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนภาษาขืนด้วยตัวเอง รู้จักกับภาษาขืน องค์ประกอบของภาษาขืน ภาษาขืนขั้นพื้นฐาน การใช้งานภาษาขืนที่ถูกต้อง เนื้อหาเริ่มต้น หรือเริ่มบทเรียนภาษาขืนจะอยู่ในหน้าท้ายๆ เลื่อนลงไปด้านล่างเพื่อเปลี่ยนไปหน้าที่ต้องการ

*เนื้อหานี้ใช้ได้กับภาษาไทลื้อที่มีใช้ในสิบสองปันนา ศึกษาเนื้อหานี้ก็สามารถเข้าใจ และอ่านภาษาไทลื้อ หรือเป็นแนวทางเบื้องต้นได้

.

เรียนภาษาขืนแบบเป็นไว ด้วย 9 บทความนี้

.

เนื้อหานี้ทางผู้เขียนทำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลรวบรวมไว้ เป็นความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษาลาวซึ่งถ้าเราสังเกตให้ดีจะพบว่าภาษาลาวกับภาษาไทธรรม ภาษาขืน ภาษาไทลื้อจะมีความคล้ายคลึงกัน รวมถึงกับภาษาไทยด้วย โดยเฉพาะภาษาลาวก็คล้ายกับทางภาษาไทยเป็นส่วนใหญ่หากคนที่พอรู้เกี่ยวกับภาษาทางภาคอีสาน ก็จะสามารถเข้
เนื้อหาในตอนต่อไปนี้จะนำคำปอน หรือ พร ที่ใช้กล่าวในโอกาสต่างๆ เช่น การเข้าพรรษา ออกพรรษา หรือวันปีใหม่ สงกรานต์ หรือเนื่องในวันพิเศษต่างๆ มารวบรวมให้ศึกษา ฝึกอ่านภาษาขืน (รวมถึงภาษาไทลื้อด้วย) ในเทศกาลต่างๆ ที่สำคัญ เรามักจะพบ การดำหัว...
จากเนื้อหาพื้นฐานที่ได้อธิบายไปแล้ว เกี่ยวกับภาษาขืนหรือไทขืน ซึ่งเป็นรูปแบบภาษาเดียวกับไทลื้อมีความคล้ายกัน แต่ไม่เหมือนทั้งหมด เท่าที่สังเกต ภาษาขืนจะมีการทับศัพท์คำใกล้เคียงกับภาษาไทย รวมถึงอาจจะคล้ายๆ กับภาษาล้านนาที่ใช้ในประเทศไทยทางภาคเหนือในบางพื้นที่ อย่างไรก็ตามจะขอพูดถึงภาษาไทขืนและภา
เนื้อหาในบทนี้จะรวบรวมเกี่ยวกับคำศัพท์ควรรู้ในภาษาขืน ถึงแม้ว่าคำ หรือข้อความโดยส่วนใหญ่ในภาษาขืน จะเป็นลักษณะคล้ายการถอดรูปแบบข้อความภาษาไทย แล้วแทนด้วยตัวอักขระหรือตัวอักษรขืน แต่ก็ยังมีบางคำที่มีการใช้คำที่แตกต่างออกไป เพื่อเป็นแนวทางในการฝึกอ่านออกเสียงหรือฝึกการสะกดคำภาษาขืน จึงนำคำมารวบรว
เนื้อหาบทความนี้จะมาฝึกอ่านประเพณีของไทขืนทั้ง 12 เดือน โดยจะเริ่มต้นตั้งแต่ปีใหม่ของไทขืนหรือเดือน 6 ตามปฏิทินไทขืน หรือวันสงกรานต์เดือนเมษายน ตามเทศกาลในประเทศไทย การฝึกอ่านและแปลนี้ไม่ได้มีความถูกต้อง 100 เปอร์เซ็นต์ผู้เขียนนำมาเป็นแนวทางสำหรับการฝึกการอ่านเท่านั้น ก่อนลงรายละเอียด มารู้จักเ
ตัวเลขในภาษาขืนเป็นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่ง ที่เราจำเป็นต้องจดจำไว้ถึงแม้เราจะเข้าใจว่า ตัวเลขในภาษาขืน ก็มีแค่ 9 - 10 ตัวเหมือนตัวเลขทั่วไป แต่สิ่งที่ทำให้เราจำเป็นต้องเข้าใจตัวเลขภาษาขืน ก็เพราะว่า รูปแบบตัวเลข มีความคล้ายคลึงกับรูปแบบของพยัญชนะ หากเพิ่งเริ่มศึกษาภาษาขืนก็อาจจะสับสน และทำให้การฝ
มาถึงตอนสุดท้ายของการฝึกอ่านคำภาษาขืน จากบทท่องพยัญชนะ ลำดับที่32 - 42 เป็น 11 ตัวสุดท้าย ถึงแม้ว่า รูปแบบจะคล้ายๆ กับหลายๆ ตัวที่ผ่านมาแต่การทบทวนซ้ำๆ ก็จะทำให้เราคุ้นชินกับการอ่านภาษาขืนได้ง่ายขึ้น ซึ่งก็คือเราได้ฝึกจำตัวพยัญชนะบ่อยๆ เวลาอ่านก็จะอ่านได้ไหลลื่นขึ้น 32. ᩀ...
มาต่อกันอีก 10 พยัญชนะในตอนที่ 3 ตั้งแต่ตัวที่ 22 - 31 เมื่อฝึกอ่านมาถึงตรงนี้หลายๆ คำก็จะซ้ำกัน รูปแบบการอ่านออกเสียง ก็จะเป็นลักษณะเดียวกัน ดังนั้นการอธิบายในรายละเอียดจะน้อยลงไปตาม อย่างไรก็ตาม ยังมีบางตัวที่อาจจะไม่ได้มีรูปแบบตามที่เรารู้หรือจำมา เช่น คำตาย...
มาต่อกันกับการอ่านภาษาขืนจากบทท่องพยัญชนะ จากตอนที่แล้วเราฝึกไป 10พยัญชนะแรก ในเนื้อหาตอนนี้จะเพิ่มมาอีก 11 พยัญชนะ การอธิบายก็อาจจะสั้นลงเพราะบางคำเป็นการพูดถึงคำ หรือรูปแบบเดิมที่อธิบายไปบ้างแล้ว ก็จะไปแบบเร็วๆ 11. ᨫ ᨫᩣ᩠ᨶ ᨻ᩵ᩴᩣᨻᩯ᩠ᨦᨶᩣ᩠ᨶᨧ᩠ᨦᩥ᩵ᨯᩱᩢᨫ – ฌ่ะ – ฌาน...
เนื้อหาตอนต่อไปนี้ เราจะมาฝึกการอ่านคำภาษาขืน โดยใช้บทท่องพยัญชนะภาษาขืนทั้ง 42 ตัว เนื้อหานี้จะอาศัยรายละเอียด จากบทความก่อนๆ หน้ามาประกอบ เพราะในคำภาษาขืน จะมีทั้ง พยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์รวมถึงบางคำก็เป็นคำภาษาบาลี ที่อาจจะไม่ได้กล่าวถึงมาก่อน ก็มาศึกษาในบทความตอนนี้พร้อมๆ กัน...